วันพุธที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 8) การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน
ในช่วงปลายศตวรรษที่ 20
การติดต่อสื่อสารทำได้ครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ในโลก
มีผู้รู้กล่าวว่าปัจจุบัน เป็น“ยุคของข่าวสารข้อมูล” การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างประเทศทำได้กว้างขวางขึ้น
มีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทั้งทางด้านสังคม
เศรษฐกิจการเมืองและ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 8) การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์
หมายถึง
การร่วมมือกันเพื่อรักษาและปกป้องผลประโยชน์ของตนและเป็นการระงับกรณีความ
ขัดแย้งที่มาจากการแข่งขันทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 7) องค์การระหว่างประเทศที่มีบทบาทในด้านสิทธิมนุษยชน
คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
ประกอบด้วยสมาชิก ทั้งหมด
47 ประเทศ วัตถุประสงค์ขององค์กรคือ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 7) สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
กฎหมายไทยได้มีมาตรการในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในรูปแบบต่างๆ
มานาน ประเทศไทยได้ให้ความเห็นชอบกันปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่
10 ธันวาคม 2491 หลังจากนั้นประเทศไทยได้เข้าเป็น อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 7) สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน
มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ
และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง
ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้
โดยได้รับการ คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
และสนธิสัญญาระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 6) ข้อตกลงระหว่างประเทศ
คำนิยามข้อตกลงระหว่างประเทศ
บ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกิดจากข้อตกลง ก็คือบ่อเกิดที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งหมายถึง การกระทำทางกฎหมายหลายฝ่ายที่ตกลงทำกันขึ้นระหว่างบุคคลในกฎหมายระหว่าง ประเทศและอยู่ภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม
บ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกิดจากข้อตกลง ก็คือบ่อเกิดที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งหมายถึง การกระทำทางกฎหมายหลายฝ่ายที่ตกลงทำกันขึ้นระหว่างบุคคลในกฎหมายระหว่าง ประเทศและอยู่ภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 6) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนและประเทศ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
เป็นการกำหนดสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ของบุคคล
สิทธิ หมายถึง ประโยชน์ซึ่งกฎหมายรับรอง คุ้มครองให้กับบุคคล เช่น สิทธิทางการเมือง สิทธิในทรัพย์สิน อ่านเพิ่มเติม
สิทธิ หมายถึง ประโยชน์ซึ่งกฎหมายรับรอง คุ้มครองให้กับบุคคล เช่น สิทธิทางการเมือง สิทธิในทรัพย์สิน อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)