วันพุธที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 8) การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน

          ในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 การติดต่อสื่อสารทำได้ครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ในโลก มีผู้รู้กล่าวว่าปัจจุบัน เป็นยุคของข่าวสารข้อมูลการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างประเทศทำได้กว้างขวางขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจการเมืองและ   อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 8) การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

          การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและปกป้องผลประโยชน์ของตนและเป็นการระงับกรณีความ ขัดแย้งที่มาจากการแข่งขันทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ   อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 7) องค์การระหว่างประเทศที่มีบทบาทในด้านสิทธิมนุษยชน

          คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ประกอบด้วยสมาชิก  ทั้งหมด  47  ประเทศ วัตถุประสงค์ขององค์กรคือ    อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 7) สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย

          กฎหมายไทยได้มีมาตรการในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในรูปแบบต่างๆ  มานาน ประเทศไทยได้ให้ความเห็นชอบกันปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2491 หลังจากนั้นประเทศไทยได้เข้าเป็น   อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 7) สิทธิมนุษยชน

          สิทธิมนุษยชน  หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ โดยได้รับการ คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสนธิสัญญาระหว่างประเทศ   อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 6) ข้อตกลงระหว่างประเทศ

คำนิยามข้อตกลงระหว่างประเทศ

          บ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกิดจากข้อตกลง  ก็คือบ่อเกิดที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างประเทศ  ซึ่งหมายถึง การกระทำทางกฎหมายหลายฝ่ายที่ตกลงทำกันขึ้นระหว่างบุคคลในกฎหมายระหว่าง ประเทศและอยู่ภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ   อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 6) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนและประเทศ

          กฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ เป็นการกำหนดสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ของบุคคล
          

          สิทธิ หมายถึง ประโยชน์ซึ่งกฎหมายรับรอง คุ้มครองให้กับบุคคล เช่น สิทธิทางการเมือง สิทธิในทรัพย์สิน  อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 6) กฏหมายที่เกี่ยวกับตนเองและครอบครัว

         การหมั้น

          การหมั้นจะสมบูรณ์ต่อเมื่อฝ่ายชายได้ส่งมอบหรือโอนทรัพย์สินอันเป็นของ หมั้นให้แก่หญิงเพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับผู้หญิง การหมั้นจะทำได้ต่อเมื่อชายและหญิงมีอายุ 17 บริบูรณ์แล้ว  อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 5) สถานการณ์และปัญหาการเมืองไทย

         การเมืองเป็นเรื่องเกี่ยวกับรูปของรัฐและการจัดระเบียบความสัมพันธ์ภายในรัฐ ระหว่างผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง โดยเมื่อสังคมมนุษย์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องมีรัฐบาล คนเราจึงต้องแบ่งออกเป็นสองพวกใหญ่ๆ คือ ผู้ที่ทำหน้าที่บังคับกับผู้ถูกบังคับเสมอ   อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 5) การตรวจสอบการใช้อํานาจรัฐ

         ความล้มเหลวของระบบประชาธิปไตย โดยผู้แทนได้ส่งผลกระทบในทางลบต่อการพัฒนาการเมือง การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม นักวิชาการจึงได้เสนอทางออกเพื่อแก้ไขปัญหาและจุดอ่อนของระบบประชาธิปไตย โดยการเสนอระบบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมมาทดแทน   อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 5) ฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์

           ตามการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น  เป็นการปกครองรูปแบบที่พระองค์จะทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะประมุขของรัฐและใน ฐานะอื่นๆซึ่งเป็นไปตามที่รับธรรมนูญกำหนดไว้   อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 5) รัฐ

         รัฐ คือ สมาคมของมนุษย์จำนวนหนึ่งครอบครองดินแดนแห่งหนึ่งที่มีอาณาเขตแน่นอน รวมกันอยู่ภายใต้รัฐบาลหนึ่ง ถ้าเป็นกิจการภายในเป็นองค์การแสดงออกซึ่งอธิปไตย แต่ถ้าเป็นกิจการภายนอกเป็นอิสระจากการบังคับบัญชาของรัฐบาลอื่น    อ่านเพิ่มเติม

วันจันทร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2557

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 4) คุณลักษณะของพลเมืองดี

         คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น  และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า  มีดังนี้   อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 4) พลเมืองดี

         พลเมืองดี หมายถึง ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดล่วงล้ำสิทธิ และเสรีภาพของ บุคคลอื่น  อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 3) การเลือกรับวัฒนธรรมสากล

         เลือกรับวัฒนธรรมสากลที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน วัฒนธรรมสากล เช่น ภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนระบบระเบียบการค้าขายระหว่างประเทศ มีความสำคัญในการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างคนไทยและคนต่างชาติอย่างมาก    อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 3) ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล

         ประเทศต่างๆ ในโลกมีความแตกต่างกันทางวัฒนธรรมความเชื่อและค่านิยมเนื่อง จากแต่ละประเทศ มีลักษณะทางวัฒนธรรม สภาพแวดล้อมทางกายภาพ และการพัฒนาเศรษฐกิจ วิทยาการและเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน จึงเป็นเหตุให้เกิดความขัดแย้งกันอันนำไปสู่   อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 3) การเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย

         การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยนั้น  ต้องอาศัยความร่วมมือกันของคนไทยทุกคนมีวิธีการ ดังนี้
 
1.  ศึกษา  ค้นคว้า  และการวิจัยวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่น ทั้งที่มีการรวบรวมไว้แล้วและยังไม่ได้ศึกษา  เพื่อทราบความหมาย และม   
อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 3) วัฒนธรรมไทย

         วัฒนธรรมไทย หมายถึง  วิถีชีวิตของคนไทยในสังคมไทย  ซึ่งเป็นแบบแผนของการประพฤติปฏิบัติที่ดีงานและการแสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิดในสถานการณ์ต่างๆ  ที่สมาชิกในสังคมไทยสามารถรู้  เข้าใจ  ซาบซึ้ง  ยอมรับ  และใช้ปฏิบัติร่วมกันในสังคมไทย  อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 3) วัฒนธรรม

        วัฒนธรรม หมายรวมถึง ทุกสิ่ง ทุกอย่างที่มนุษย์สร้างขึ้นมา นับตั้งแต่ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา  กฎหมาย  ศิลปะ จริยธรรม ตลอดจนวิทยาการและเทคโนโลยีต่าง ๆ อาจกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือที่มนุษย์ คิดค้นขึ้นมาเพื่อช่วยให้มนุษย์สามารถดำรงอยู่ต่อไปได้   อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 2) แนวทางการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคม

         สังคมมีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาด้วยอัตราที่เร็วบ้างช้าบ้าง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวก่อให้เกิดผลดีมากมาย แต่ในขณะเดียวกันผลกระทบในทางลบก็เกิดขึ้นหลากหลายเช่นกันจนกลายเป็นปัญหา สังคมที่ต้องร่วมกันแก้ไข โดยในช่วงที่ผ่านมาผลการพัฒนาสังคมของไทยนั้น   อ่านเพิ่มเติม 

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 2) ปัญหาทางสังคม

          ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วมกันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น    อ่านเพิ่มเติม

(หน่วยการเรียนรู้ที่ 2) การเปลี่ยนแปลงทางสังคม


          สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรม ชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ แต่ในระยะประมาณร้อยปีที่แล้วสังคมจำนวนหนึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างมากจากสภาพสังคมแบบ  อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 1) ลักษณะสังคมไทย

         ประเทศไทย เป็นชาติที่มีวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบทอดกันมาเป็นเวลานาน ลักษณะของสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัยต่างๆ ตลอดเวลา อย่างไรก็ตามยังมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของสังคมไทยอยู่   อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 1) การขัดเกลาทางสังคม

         การขัดเกลาทางสังคม หมายถึง  กระบวนการอบรมสั่งสอนสมาชิกให้เรียนรู้ระเบียบของสังคมเพื่อให้เห็นคุณค่า และนำเอากฎเกณฑ์   ระเบียบปฎิบัติเหล่านั้นไปเป็นแนวทางในการประพฤติปฎิบัติ  การขัดเกลาสังคมเป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องได้รับตลอตชีวิต  เพื่อที่จะทำให้มนุษย์สามารถ   อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 1) การจัดระเบียบทางสังคม

          การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้ แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม   อ่านเพิ่มเติม


(หน่วยการเรียนรู้ที่ 1) โครงสร้างทางสังคม

          สังคมมนุษย์แม้ว่าจะมีขนาดของสังคมหรือลักษณะเฉพาะของสังคมแตกต่างกัน แต่เมื่อกล่าวถึงโครงสร้างทางสังคมโดยทั่วไปหรือโครงสร้างพื้นฐานทางสังคม เบื้องต้นแล้ว ทุกสังคมต่างมีองค์ประกอบสำคัญอยู่บนพื้นฐานสองประการที่สำคัญคือ   อ่านเพิ่มเติม