วันพุธที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 8) การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน
ในช่วงปลายศตวรรษที่ 20
การติดต่อสื่อสารทำได้ครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ในโลก
มีผู้รู้กล่าวว่าปัจจุบัน เป็น“ยุคของข่าวสารข้อมูล” การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างประเทศทำได้กว้างขวางขึ้น
มีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทั้งทางด้านสังคม
เศรษฐกิจการเมืองและ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 8) การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์
หมายถึง
การร่วมมือกันเพื่อรักษาและปกป้องผลประโยชน์ของตนและเป็นการระงับกรณีความ
ขัดแย้งที่มาจากการแข่งขันทางการเมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 7) องค์การระหว่างประเทศที่มีบทบาทในด้านสิทธิมนุษยชน
คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
ประกอบด้วยสมาชิก ทั้งหมด
47 ประเทศ วัตถุประสงค์ขององค์กรคือ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 7) สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
กฎหมายไทยได้มีมาตรการในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในรูปแบบต่างๆ
มานาน ประเทศไทยได้ให้ความเห็นชอบกันปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่
10 ธันวาคม 2491 หลังจากนั้นประเทศไทยได้เข้าเป็น อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 7) สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน
มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ
และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง
ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้
โดยได้รับการ คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
และสนธิสัญญาระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 6) ข้อตกลงระหว่างประเทศ
คำนิยามข้อตกลงระหว่างประเทศ
บ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกิดจากข้อตกลง ก็คือบ่อเกิดที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งหมายถึง การกระทำทางกฎหมายหลายฝ่ายที่ตกลงทำกันขึ้นระหว่างบุคคลในกฎหมายระหว่าง ประเทศและอยู่ภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม
บ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกิดจากข้อตกลง ก็คือบ่อเกิดที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งหมายถึง การกระทำทางกฎหมายหลายฝ่ายที่ตกลงทำกันขึ้นระหว่างบุคคลในกฎหมายระหว่าง ประเทศและอยู่ภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 6) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนและประเทศ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
เป็นการกำหนดสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ของบุคคล
สิทธิ หมายถึง ประโยชน์ซึ่งกฎหมายรับรอง คุ้มครองให้กับบุคคล เช่น สิทธิทางการเมือง สิทธิในทรัพย์สิน อ่านเพิ่มเติม
สิทธิ หมายถึง ประโยชน์ซึ่งกฎหมายรับรอง คุ้มครองให้กับบุคคล เช่น สิทธิทางการเมือง สิทธิในทรัพย์สิน อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 6) กฏหมายที่เกี่ยวกับตนเองและครอบครัว
การหมั้น
การหมั้นจะสมบูรณ์ต่อเมื่อฝ่ายชายได้ส่งมอบหรือโอนทรัพย์สินอันเป็นของ
หมั้นให้แก่หญิงเพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับผู้หญิง การหมั้นจะทำได้ต่อเมื่อชายและหญิงมีอายุ
17
บริบูรณ์แล้ว อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 5) สถานการณ์และปัญหาการเมืองไทย
การเมืองเป็นเรื่องเกี่ยวกับรูปของรัฐและการจัดระเบียบความสัมพันธ์ภายในรัฐ ระหว่างผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง โดยเมื่อสังคมมนุษย์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องมีรัฐบาล คนเราจึงต้องแบ่งออกเป็นสองพวกใหญ่ๆ
คือ ผู้ที่ทำหน้าที่บังคับกับผู้ถูกบังคับเสมอ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 5) การตรวจสอบการใช้อํานาจรัฐ
ความล้มเหลวของระบบประชาธิปไตย โดยผู้แทนได้ส่งผลกระทบในทางลบต่อการพัฒนาการเมือง
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม นักวิชาการจึงได้เสนอทางออกเพื่อแก้ไขปัญหาและจุดอ่อนของระบบประชาธิปไตย
โดยการเสนอระบบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมมาทดแทน อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 5) ฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์
ตามการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น
เป็นการปกครองรูปแบบที่พระองค์จะทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะประมุขของรัฐและใน
ฐานะอื่นๆซึ่งเป็นไปตามที่รับธรรมนูญกำหนดไว้ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 5) รัฐ
รัฐ คือ
สมาคมของมนุษย์จำนวนหนึ่งครอบครองดินแดนแห่งหนึ่งที่มีอาณาเขตแน่นอน
รวมกันอยู่ภายใต้รัฐบาลหนึ่ง ถ้าเป็นกิจการภายในเป็นองค์การแสดงออกซึ่งอธิปไตย
แต่ถ้าเป็นกิจการภายนอกเป็นอิสระจากการบังคับบัญชาของรัฐบาลอื่น อ่านเพิ่มเติม
วันจันทร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2557
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 4) คุณลักษณะของพลเมืองดี
คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น
และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า
มีดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 4) พลเมืองดี
พลเมืองดี หมายถึง
ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง
และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดล่วงล้ำสิทธิ และเสรีภาพของ บุคคลอื่น อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 3) การเลือกรับวัฒนธรรมสากล
เลือกรับวัฒนธรรมสากลที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน วัฒนธรรมสากล เช่น ภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนระบบระเบียบการค้าขายระหว่างประเทศ
มีความสำคัญในการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างคนไทยและคนต่างชาติอย่างมาก อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 3) ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล
ประเทศต่างๆ ในโลกมีความแตกต่างกันทางวัฒนธรรมความเชื่อและค่านิยมเนื่อง จากแต่ละประเทศ มีลักษณะทางวัฒนธรรม สภาพแวดล้อมทางกายภาพ และการพัฒนาเศรษฐกิจ วิทยาการและเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน จึงเป็นเหตุให้เกิดความขัดแย้งกันอันนำไปสู่ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 3) การเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยนั้น ต้องอาศัยความร่วมมือกันของคนไทยทุกคนมีวิธีการ
ดังนี้
1. ศึกษา ค้นคว้า และการวิจัยวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่น ทั้งที่มีการรวบรวมไว้แล้วและยังไม่ได้ศึกษา เพื่อทราบความหมาย และม อ่านเพิ่มเติม
1. ศึกษา ค้นคว้า และการวิจัยวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่น ทั้งที่มีการรวบรวมไว้แล้วและยังไม่ได้ศึกษา เพื่อทราบความหมาย และม อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 3) วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย หมายถึง วิถีชีวิตของคนไทยในสังคมไทย ซึ่งเป็นแบบแผนของการประพฤติปฏิบัติที่ดีงานและการแสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิดในสถานการณ์ต่างๆ ที่สมาชิกในสังคมไทยสามารถรู้ เข้าใจ ซาบซึ้ง ยอมรับ และใช้ปฏิบัติร่วมกันในสังคมไทย อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 3) วัฒนธรรม
วัฒนธรรม หมายรวมถึง ทุกสิ่ง ทุกอย่างที่มนุษย์สร้างขึ้นมา นับตั้งแต่ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา กฎหมาย ศิลปะ จริยธรรม ตลอดจนวิทยาการและเทคโนโลยีต่าง ๆ อาจกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือที่มนุษย์ คิดค้นขึ้นมาเพื่อช่วยให้มนุษย์สามารถดำรงอยู่ต่อไปได้ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 2) แนวทางการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคม
สังคมมีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาด้วยอัตราที่เร็วบ้างช้าบ้าง
การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวก่อให้เกิดผลดีมากมาย
แต่ในขณะเดียวกันผลกระทบในทางลบก็เกิดขึ้นหลากหลายเช่นกันจนกลายเป็นปัญหา
สังคมที่ต้องร่วมกันแก้ไข โดยในช่วงที่ผ่านมาผลการพัฒนาสังคมของไทยนั้น อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 2) ปัญหาทางสังคม
ปัญหาสังคม หมายถึง
สภาวการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วมกันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 2) การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรม
ชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว
ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ แต่ในระยะประมาณร้อยปีที่แล้วสังคมจำนวนหนึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างมากจากสภาพสังคมแบบ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 1) ลักษณะสังคมไทย
ประเทศไทย เป็นชาติที่มีวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบทอดกันมาเป็นเวลานาน
ลักษณะของสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัยต่างๆ ตลอดเวลา อย่างไรก็ตามยังมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของสังคมไทยอยู่ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 1) การขัดเกลาทางสังคม
การขัดเกลาทางสังคม หมายถึง
กระบวนการอบรมสั่งสอนสมาชิกให้เรียนรู้ระเบียบของสังคมเพื่อให้เห็นคุณค่า
และนำเอากฎเกณฑ์ ระเบียบปฎิบัติเหล่านั้นไปเป็นแนวทางในการประพฤติปฎิบัติ
การขัดเกลาสังคมเป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องได้รับตลอตชีวิต เพื่อที่จะทำให้มนุษย์สามารถ อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 1) การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้
แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม อ่านเพิ่มเติม
(หน่วยการเรียนรู้ที่ 1) โครงสร้างทางสังคม
สังคมมนุษย์แม้ว่าจะมีขนาดของสังคมหรือลักษณะเฉพาะของสังคมแตกต่างกัน
แต่เมื่อกล่าวถึงโครงสร้างทางสังคมโดยทั่วไปหรือโครงสร้างพื้นฐานทางสังคม
เบื้องต้นแล้ว ทุกสังคมต่างมีองค์ประกอบสำคัญอยู่บนพื้นฐานสองประการที่สำคัญคือ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)